Back
   อยากรู้ดูทางนี้
         - การขับขี่ปลอดภัย
         - แนะนำการสอบใบขับขี่
         - บริษัทที่เกี่ยวข้อง
         - แนะนำการซื้อรถมือสอง
         - ปัญหานี้มีทางแก้
         - การดูแลรถ
อยากรู้ดูทางนี้

Computer Bussiness
2005 Rajamangala University of Technology Chanthaburi . All rights Reserved
Welcome all comments, please click here to contact me
JSMoter.com

การดูแลรถ

ตารางการบำรุงรักษาประจำของมอเตอร์ไซค์
         พอดีผมไปเจอตารางการบำรุงรักษารถใหญ่ (250 ซี.ซี.ขึ้นไป) มาจากนิตยสาร วัฏจักรมอเตอร์ไซเคิล โดยคุณ Gear 7 เห็นว่าน่าจะมีประโยชน์กับเพื่อนๆ ที่ใช้รถ ทั้งรถเล็กและรถใหญ่ จึงขออนุญาตคัดลอกมาให้เพื่อนๆได้ดูกัน เผื่อจะเป็นประโยชน์ไม่มากไม่น้อยในการดูแลรถคู่ใจนะครับ

ตารางการบำรุงรักษาประจำ
ตรวจเช็ก
ทุกระยะ ( กม.)
เปลี่ยน
ทุกระยะ ( กม.)
1.เครื่องยนต์และส่วนที่เกี่ยวข้อง
   1.ไส้กรองอากาศ (ทำความสะอาด)
5000
10000
   2.หัวเทียน (ทำความสะอาด/ตรวจระยะเขี้ยว)
5000
10000
   3.น้ำมันเครื่อง (ตรวจเช็กระดับ)
100
2500
   4.ไส้กรองน้ำมันเครื่อง
-
2500
   5.ท่อทางเดินน้ำมันเชื้อเพลิง (รอยฉีกขาด-กรอบ)
5000
20000
   6.ระบบส่งน้ำมันเชื้อเพลิง
รุ่นที่ใช้ก๊อกน้ำมันแบบแวคคั่ม (เช็กร่องรอยฉีกขาด-กรอบ) ปั๊มติ๊ก (เช็กการทำงาน)
5000
20000
   7.คาร์บูเรเตอร์ หากปรกติดีให้ทำความสะอาดที่ระยะ
หากมีปัญหาผิดปรกติให้แก้ไขตามอาการ หรือเปลี่ยนชิ้นส่วนใหม่
ยางปากคาร์บูเรเตอร์ (หลวมหลุด/ฉีกขาด/กรอบ)
15000

10000
ตามสมควร

ถ้าเสียหาย
   8.ระบบระบายความร้อนด้วยน้ำ ตรวจเช็กระดับน้ำ
ตรวจเช็กท่อทางเดินน้ำ ฝาหม้อน้ำ และตะกอนในหม้อพัก
ทำความสะอาดรังผึ้งหม้อน้ำ
100
5000
10000
20000
ตามสมควร
ถ้าเสียหาย
   9.ระบบระบายความร้อนด้วยน้ำมัน
ตรวจเช็กท่อทางเดินน้ำมันเครื่อง (ร่องซึมตามข้อต่อ)
2500
ถ้าเสียหาย
   10.ตรวจระยะห่างวาล์ว
เครื่องยนต์ขนาด 250 ซี.ซี.
เครื่องยนต์ขนาด 400 ซี.ซี.
เครื่องยนต์ขนาด 600 ซี.ซี.
เครื่องยนต์ขนาด 750 ซี.ซี.
เครื่องยนต์ขนาด 900 ซี.ซี.
เครื่องยนต์ขนาด 1000 ซี.ซี. ขึ้นไป

10000 ถึง 15000
15000 ถึง 17000
16000 ถึง 24000
20000 ถึง 26000
24000 ถึง 28000
ไม่น้อยกว่า 28000
-
   11.ระบบตัดต่อกำลัง (คลัทช์)
ตรวจระยะฟรี
แผ่นคลัทช์

5000
20000

-
ถ้าจำเป็น
   12.ระบบส่งกำลัง
รถที่ใช้เพลา ตรวจน้ำมันเฟืองท้าย (เกรด W 90)
รถขับโซ่ ตรวจความตึงหย่อนและทำความสะอาด
หล่อลื่นโซ่ด้วยน้ำมันเฉพาะ
สเตอร์หน้า/หลัง ตรวจร่องฟันสเตอร์เมื่อมีเสียงดังหรือทุก

5000
500
300
1500

10000
ตามสมควร
-
ตามสมควร
2.ระบบโครงสร้างและความปลอดภัย
   1.ช็อคอัพหน้า ตรวจซีลช็อคอัพ/ซีลกันฝุ่น
น้ำมันช็อคอัพ
1000
-
10000
10000
   2.ช็อคอัพหลัง ตรวจเช็กลูกปืนกระเดื่องและอัดจาระบีใหม่
-
15000
   3.ลูกปืนคอ ตรวจระยะคลอน
อัดจาระบีใหม่
5000
10000
ถ้าเสียหาย
-
   4.ลูกปืนหล้อหน้าและหลัง ตรวจระยะคลอน/อัดจาระบีใหม่
10000
ถ้าเสียหาย
   5.ระบบเบรคหน้า-หลัง (แบบดิสก์เบรค)
ผ้าเบรค ตรวจการสึกหรอ
น้ำมันเบรค ตรวจระดับ / ไล่ลม
ปั๊มเบรคและท่อไฮดรอลิกเบรค ล้างปั๊มและเช็กซีลปั๊ม

5000
5000
10000

ตามสมควร
ตามสมควร
20000
   6.สายคลัทช์-สายคันเร่ง ล้างและหล่อลื่นใหม่
10000
ถ้าเสียหาย
3.ระบบไฟชาร์จ แบตเตอรี่และที่เกี่ยวข้อง
   1.แบตเตอรี่ ล้างคราบเกลือที่ขั้บแบตฯ/ทาจาระบี
แบตน้ำ ตรวจระดับน้ำกลั่น-วัดระดับไฟ
แบตแห้ง วัดระดับไฟ
1 เดือน
800
2500
-
2 ปี
2 ปี
   2.ปลั๊กแผ่นชาร์จ ปลั๊กฟิลคอยล์ (ตรวจรอยไหม้ - คราบเกลือ)
1 เดือน
ทันทีที่พบปัญหา
   3.วัดระดับไฟชาร์จ รถทุกรุ่นจะต้องชาร์จได้ระหว่าง
2 เดือน
ทันทีที่พบปัญหา
   4.ปลั๊กเสียบทุกจุด ตรวจเช็กและล้างคราบเกลือ
6 เดือน
ทันทีที่พบปัญหา

เพิ่มเติม
         น้ำมันเครื่องควรเลือกที่มียี่ห้อตั้งแต่ ชนิดมัลติเกรด เซมิ-ซินเทติก ไปจนถึงประเภทมัลติเกรด ฟูลลี่-ซินเทติก เบอร์ที่เหมาะสมถ้าเป็นซูซูกิพวกสปอร์ต คัสตอม ทัวริ่ง ทุกตัวโดยเฉพาะพวกที่ใช้ออยล์คูลเลอร์แนะนำให้ใช้เบอร์ 10 W 40 หรือ 15 W 40 ถ้าใช้งานหนักความร้อนขึ้นสูงบ่อย ก็ใช้ 20 W 50 หรือเบอร์กว้างสุด 5 W 60

ไส้กรองอากาศ
         ถ้าใช้ของแท้ กรองอากาศทุกตัวที่เป็นแบบกระดาาจะมีอายุการใช้งานในบ้านเราที่ 10,000 กม. โดยในช่วงอายุการใช้งานควรถอดออกมาทำการเป่าวด้วยลมประมาณ 5,000 กม. ในรถบางรุ่นที่ไส้กรองเป็นแบบฟองน้ำ-สักหลาดให้เปลี่ยนใหม่อย่างเดียว

สภาพยางและลมยาง
         ควรตรวจเช็กทุกวัน ตามค่าระบุที่ติดมากับรถ

ค่าแมนทาแนนซ์ประจำรุ่น
         เช่นความจุน้ำมันเครื่อง ชนิดหัวเทียน เบอร์โซ่ ความจุและชนิดน้ำมันช็อคอัพ รวมถึงระยะห่างวาล์ว ดูได้จากข้อมูลทางเทคนิคที่ระบุ ถ้าไม่ทราบสามารถตรวจสอบหรือขอคำแนะนำจากร้านที่รับซ๋อมรถหรือร้านที่คุณซื้อโดย

Top